HMC

Pradu Chimphli Temple

Buddhist temple in Bangkok

Updated: March 01, 2024 09:48 AM

Pradu Chimphli Temple is located in Bangkok (Capital of Thailand), Thailand. It's address is PFF9+MX4, Wat Tha Phra, Bangkok Yai, Bangkok 10600, Thailand.

PFF9+MX4, Wat Tha Phra, Bangkok Yai, Bangkok 10600, Thailand

+66 2 458 1564

m.facebook.com

Questions & Answers


Where is Pradu Chimphli Temple?

Pradu Chimphli Temple is located at: PFF9+MX4, Wat Tha Phra, Bangkok Yai, Bangkok 10600, Thailand.

What is the phone number of Pradu Chimphli Temple?

You can try to calling this number: +66 2 458 1564

What are the coordinates of Pradu Chimphli Temple?

Coordinates: 13.7241409, 100.4699549

Pradu Chimphli Temple Reviews

Stuart C (BKK)
2024-03-30 07:43:42 GMT

Lovely old temple on the khlong with active local community

Sopirat Lee
2023-08-12 04:16:02 GMT

Wat Pradu Chimphli is situated on rim of Bangkok Yai cannal. It has been retouched and repaired recently.

serat tan
2024-02-18 09:13:32 GMT

Don’t forget to visit the reclining Buddha, Buddhist‘s footprint and King Taksin also.

Luiz Lee
2023-12-01 06:45:14 GMT

Nice and less crowded temple. Worth the visit to pray and enjoy the time at the temple vicinity 🙏🏻

Udom Wittayases
2023-12-19 05:50:26 GMT

Nice and quiet place to visit. A local place of temple for prayers.

Pattarapon Buathong
2023-02-11 09:04:18 GMT

Local but popular temple

Leo R
2024-01-31 10:47:31 GMT

Open daily 08:00 - close 17:00

Danny Wong
2023-03-13 11:09:24 GMT

Will try our best to come by to pay respect to Luang Pu Toh on every trip.

Nico Van Loo
2024-04-30 09:36:17 GMT

ok

Alessandra Brina
2023-05-23 09:32:52 GMT

Great and awesome temple. Very grand and peaceful.

Pasa T.
2022-11-05 17:30:38 GMT

Amazing temple, To monk is very famous!

Wasee Chowdhury
2023-01-03 06:40:16 GMT

It's a famous Buddhist temple

Tevachad Robjakkraval
2023-09-03 18:04:24 GMT

Fresh

shenghe
2023-12-20 07:14:04 GMT

Nice place

Aeh Hcawana
2022-09-27 14:21:20 GMT

sacred

supamongkol thanayodcharoen
2024-05-06 10:19:24 GMT

ใครวางแผนจะไปวัดประดู่ฉิมพลีและวัดปากน้ำ แนะนำการเดินทางคือ
ลง mrt สถานี บางไผ่ แล้วต่อวินมอไซด์ไปวัดประดู่ฉิมพลีก่อน เค้าจะพาเข้าซอยซิกแซกไม่ไกลเลย ค่าวินผมให้ไม่เกิน 30-40 บาท

หลังไหว้ลป โต๊ะเสร็จ ให้เดินข้ามสะพานที่ปล่อยปลา เดินตรงมาตามทาง เจอแยกไปทางซ้าย เดินไปถึงวัดปากน้ำได้ แต่ถ้าไม่ไหว ตรงแยกมีวิน นั่งไปเลย ค่าวิน 20-30 บาทไม่เกิน 40

ส่วนใครจะกลับ mrt ตรงนั้นค่าวินคิด 20 บาทครับ

ตอนนี้อุโบสถปิดบูรณะ

มีศาลาด้านหน้าขึ้นไปไหว ลป และมี ด้านในทางขวาเป็น ลป ท่ายืน มี 2 จุดที่เป็นรูปเหมือนท่านครับ

REDMAN
2024-03-09 14:34:28 GMT

พระราชสังวราภิมณฑ์ (โต๊ะ อินฺทสุวณฺโณ) วัดประดู่ฉิมพลี เป็นเถราจารย์ที่ผู้คนนับถืออย่างกว้างขวาง
หลวงปู่โต๊ะ เกิดเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2430
เมื่อมีอายุได้ 20 ปี สามเณรโต๊ะ ได้เข้าพิธีอุปสมบทเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2450 ณ พัทธสีมา วัดประดู่ฉิมพลี
หลวงปู่โต๊ะ ได้เรียนศึกษาปฏิบัติคันทธุระ วิปัสสนาธุระ และสอบได้นักธรรมชั้นตรี ต่อมาพระอธิการคำ ได้มรณภาพลง ทางคณะสงฆ์จึงได้แต่งตั้ง หลวงปู่โต๊ะ ให้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดประดู่ฉิมพลีสืบต่อมาเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2456
หลวงปู่โต๊ะ ได้ออกธุดงค์จาริกไปทั่วทุกภาคในประเทศไทย ทั้งภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ ท่านได้ไปศึกษาพระปริยัติธรรมและเรียนพุทธาคม โดยฝากตัวเป็นศิษย์ครูบาอาจารย์รูปสำคัญหลายรูป เช่น หลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือ หลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน เรียนวิปัสสนากรรมฐานกับ หลวงพ่อชุ่ม วัดราชสิทธาราม ส่วนสหธรรมิกของท่านที่มีชื่อเสียงได้แก่ หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ หลวงพ่อแฉ่ง วัดบางพัง หลวงพ่อกล้าย วัดหงส์รัตนาราม และต่อจากนั้นท่านเดินทางไปธุดงค์ ยังภาคเหนือและภาคใต้ ก่อนจะกลับมายังวัดประดู่ฉิมพลี
ท่านได้อาพาธครั้งสุดท้ายเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524 และก่อนมรณภาพได้เพียง 7 วัน ท่านลุกจากเตียงไม่ได้เลย จนกระทั่งเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2524 เวลา 9:55 น. ท่านได้ถึงแก่มรณภาพลงด้วยอาการสงบ รวมสิริอายุได้ 93 ปี 73 พรรษา

Chakhon Pankong
2024-04-01 00:35:36 GMT

พระราชสังวราภิมณฑ์ (โต๊ะ อินฺทสุวณฺโณ) เป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดประดู่ฉิมพลี เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร หรือจังหวัดธนบุรีในอดีต เป็นพระคณาจารย์ที่รู้จักกันดี ด้วยวัตรอันปฏิบัติอันงดงามเป็นที่เคารพศรัทธาของชาวพุทธทุกชนชั้น ท่านถึงพร้อมด้วยบุญบารมีและอิทธิบารมี

Suphakorn Panyangam
2023-12-24 14:31:09 GMT

มากราบหลวงปู่โต๊ะวันที่ 24/12/66 พระปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ผู้เป็นที่รักและศรัทธาของชาวฝั่งธน มากราบรูปหล่อและปิดทองหลวงปู่ วัดสวยดี ส่วนประวัติท่าน คือ
พระราชสังวราภิมณฑ์ หรือ หลวงปู่โต๊ะ เกิดเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2430 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านเป็นชาวสมุทรสงครามโดยกำเนิด เป็นบุตรของนายพลอย และนางทับ รัตนคอน มีพี่น้องอยู่ร่วมกัน 2 คน ในวัยเด็ก เด็กชายโต๊ะ ได้เข้าเรียนวิชาอยู่ที่ วัดเกาะแก้ว (จังหวัดสมุทรสงคราม) ใกล้บ้านเกิดของท่าน เมื่อมารดาถึงแก่กรรม พระภิกษุแก้ว เห็นความขยันหมั่นเพียรของเด็กชายโต๊ะ จึงได้พาเด็กชายโต๊ะ มาฝากอยู่กับพระอธิการสุข เจ้าอาวาสวัดประดู่ฉิมพลีในสมัยนั้น ส่วนนายเฉื่อยน้องชายหลวงปู่โต๊ะก็ไม่ได้ตามมาด้วย คงอยู่ที่วัดเกาะแก้วเหมือนเดิม ท่านได้มาเรียนหนังสืออยู่ที่วัดประดู่ฉิมพลีอยู่เป็นเวลาอยู่ 4 ปี ก็ได้บรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุได้ 17 ปี เมื่อปี พ.ศ. 2447 โดยมีพระอธิการสุขเป็นอุปัชฌาย์ บรรพชาได้วันเดียวพระอธิการสุข ซึ่งเป็นพระอุปัชฌาย์และผู้อุปการะของท่านก็ได้มรณภาพ นายคล้าย นางพันธ์ ซึ่งเป็นพี่ชายกับพี่สะใภ้ของพระอธิการสุข และมีบ้านอยู่ใกล้วัดประดู่ฉิมพลีจึงได้อุปการะท่านต่อมา เมื่อบรรพชาแล้ว ท่านก็มาเรียนศึกษาพระธรรมวินัยอยู่ที่ วัดประดู่ฉิมพลี ซึ่งต่อมามีพระอธิการคำ เป็นเจ้าอาวาสสืบต่อมา พร้อมทั้งเรียนกรรมฐานกับพระอาจารย์พรหม วัดประดู่ฉิมพลีอีกท่านหนึ่งด้วย จนกระทั่งเมื่อมีอายุได้ 20 ปี สามเณรโต๊ะ ได้เข้าพิธีอุปสมบทเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2450 ณ พัทธสีมา วัดประดู่ฉิมพลี โดยมีพระครูสมณธรรมสมาทาน (แสง) วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูอักขรานุสิต (ผ่อง) วัดนวลนรดิศ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูธรรมวิรัต (เชย) วัดกำแพง เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาทางธรรมว่า อินทสุวัณโณ หลงจากนั้น ท่านได้เรียนศึกษาปฏิบัติคันทธุระ วิปัสสนาธุระ หลวงปู่โต๊ะ ท่านเป็นคนมีความเพียรพยายาม จนกระทั่งสอบได้ นักธรรมชั้นตรี ต่อมาพระอธิการคำ ได้มรณภาพลง ทางคณะสงฆ์จึงได้แต่งตั้งท่านให้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดประดู่ฉิมพลีสืบต่อมาเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2456 ต่อมาหลวงปู่โต๊ะ ได้ออกธุดงค์จาริกไปทั้วทุกภาคในประเทศไทย ทั้งภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ ท่านได้ไปศึกษาพระปริยัติธรรม โดยได้ไปฝากตัวเป็นศิษย์กับหลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือ เรียนวิชาพุทธาคม และได้ไปฝากตัวเป็นลูกศิษย์กับ หลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน และก็ได้ธุดงค์ไปยังภาคเหนือเพื่อศึกษาวิชากับพระอาจารย์อีกหลายท่าน และในขณะที่ท่านเดินธุดงค์ ท่านก็ได้เรียนวิปัสสนากรรมฐานกับ หลวงพ่อชุ่ม วัดราชสิทธาราม ส่วนสหธรรมิกของท่านที่มีชื่อเสียงได้แก่ หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ หลวงพ่อแฉ่ง วัดบางพัง หลวงพ่อกล้าย วัดหงส์รัตนาราม และต่อจากนั้น ท่านก็เดินทางไปยังภาคใต้ ไปที่จังหวัดปัตตานี และเมื่อหลวงปู่ท่านกลับมาที่ จังหวัดธนบุรี กลับมายังวัดประดู่ฉิมพลี ท่านก็ได้สร้างพระพุทธบาทจำลอง หลวงปู่โต๊ะ ท่านเป็นคนที่มีศีลวัตรปฏิบัติอันงดงาม มีกริยามารยาทที่งดงาม มีความสุภาพอ่อนโยน มีความเมตตากรุณาต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด และสามารถล่วงรู้เหตุการณ์ในอนาคตได้ และท่านได้เคยเจอเกี่ยวกับโรคระบาด หลวงปู่ท่านเห็นคนหลายคนไม่สบาย ท่านก็รู้สึกไม่สบายใจ เพราะท่านเองก็เป็นโรคนี้ด้วยเหมือนกัน ท่านจึงตั้งจิตว่า หากท่านยังมีชีวิตอยู่ ขอให้ท่านจงหายจากโรคนี้ แต่ถ้า ท่านหมดบุญแล้ว ก็ขอให้ตายซะ ในตอนกลางคืน ท่านได้นิมิตว่า หลวงพ่อบ้านแหลมได้นำน้ำพระพุทธมนต์มาเจริญให้ ตื่นมาท่านก็มาเจริญน้ำพระพุทธมนต์ และสุดท้ายท่านก็หายจากโรคนี้ เบื้องปลายชีวิตท่านได้เริ่มอาพาธด้วยโรคชรา เนื่องจากว่า ตั้งแต่ตอนที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ มีผู้คนมานิมนต์ท่านให้ออกมาให้พร หรือ ขอความช่วยเหลือ ท่านจึงไม่ค่อยมีเวลาพักผ่อน สุขภาพท่านจึงไม่ค่อยแข็งแรง แต่ยังพอฉันอะไรได้ แม้จะรักษาอย่างดีเท่าใด แต่สุขภาพ กายสังขารของท่านก็ไม่อาจจะทนไหว ท่านได้อาพาธครั้งสุดท้ายเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524 และก่อนมรณภาพได้เพียง 7 วัน ท่านลุกจากเตียงไม่ได้เลย จนกระทั่งเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2524 คณะลูกศิษย์ที่เป็นพยาบาล ได้มาถวายรังนกอีก แต่คราวนี้สังเกตได้ว่า แขนของท่าน บวม ท่านอยู่ได้จนกระทั่งเมื่อเวลา 9:55 น. ท่านได้ถึงแก่มรณภาพลงด้วยอาการสงบ รวมสิริอายุได้ 93 ปี 73 พรรษา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรทรงพระกรุณาโปรดให้เชิญศพไปตั้งที่ศาลา 100 ปี วัดเบญจมบพิตร พระราชทานเกียรติยศเป็นพิเศษ เสมอพระราชาคณะชั้นธรรม พระราชทานโกศโถบรรจุสรีระสังขารพร้อมฉัตรเบญจาเครื่องประกอบเกียรติยศครบทุกประการ พระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์แก่การโดยตลอด เสด็จฯ ไปทรงเป็นประธานในการทรงบำเพ็ญพระราชกุศล 7 วัน 50 วัน 100 วัน และตามโอกาสอันควรหลายวาระ พระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส

Khao Man Gai
2024-02-24 02:12:53 GMT

มาหลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี วัดอยู่ในซอยเพชรเกษม 15 วัดสะอาด ห้องน้ำสะอาด อยู่ติดริมคลองสามารถให้อาหารปลาได้ จอดรถสะดวก
*จากวัดประดู่ฉิมพลีสามารถเดินไปวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ(วัดหลวงพ่อสด) เดินไม่ไกล

Write a review of Pradu Chimphli Temple


Pradu Chimphli Temple Directions
About Bangkok
Capital of Thailand

Bangkok, officially known in Thai as Krung Thep Maha Nakhon and colloquially as Krung Thep, is the capital and most populous city of Thailand. source

Top Rated Addresses in Bangkok